top of page

Search Results

พบ 47 รายการสำหรับ ""

  • นายณัฐวุฒิ วิริยะธนาวุฒิวงษ์

    นายณัฐวุฒิ วิริยะธนาวุฒิวงษ์ นักวิจัยกลุ่มงานวิจัยเห็ด และ ภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑ์เห็ดรา More information natthawut.wir@nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71457

  • 2542-2545

    ยุคที่สอง (ช่วงที่สาม) 2542-2545 ดังนั้นการที่ พิพิธภัณฑ์เห็ดรา จะได้รับการยอมรับในระดับสากลนั้นจำเป็นที่จะต้องมีสถานที่จัดเก็บทั้งตัวอย่างแห้งที่เป็น Voucher และ Type specimen ที่เหมาะสมและต้องขึ้นทะเบียน Index Herbariorum กับ New York Botanical Garden (NYBG), USA จึงได้นำชื่อที่ตั้งแล้วคือ BIOTEC Bangkok Herbarium ชื่อย่อคือ BBH นำไปขึ้นทะเบียนกับระบบพิพิธภัณฑ์นานาชาติ การที่ชื่อมีคำว่า Bangkok อยู่นั้นเพราะเนื่องจากสถานที่จัดตั้งในวันนั้นอยู่ที่ อาคารโยธี ของ BIOTEC จังหวัดกรุงเทพฯ ส่วนคำว่า "Herbarium" ในขณะนั้นหมายถึง ตัวอย่างแห้งทั้งพืช เห็ดรา สัตว์ ใช้คำเดียวกัน ถึงแม้ว่า ณ วันนั้น BBH จะไม่มีตัวอย่าง พืชและสัตว์เก็บ แต่เนื่องจาก คำด้านเทคนิคใช้คำเดียวกัน จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของชื่อพิพิธภัณฑ์จนมาถึงทุกวันนี้ ในปี 2545 BBH ได้มีสถานที่จัดตั้งเป็นทางการ ได้รับอนุมัติการลงทุนด้าน การก่อสร้าง จึงย้ายที่ทำการจาก อาคารโยธี กทม. มาเป็น อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี ที่เพิ่งเปิดดำเนินงานในปีดังกล่าว 1/1 < Previous Work Next Work >

  • นางพนิดา อุนะกุล

    นางพนิดา อุนะกุล หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ More information panida.una@nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71475

  • นายศรัญญู วงกระนวน

    นายศรัญญู วงกระนวน ผู้ช่วยวิจัยกลุ่มงานวิจัยไซราเรีย More information sarunyou.won@nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71465

  • นายบุญช่วย ชัยนุวงษ์

    นายบุญช่วย ชัยนุวงษ์ ผู้ช่วยวิจัยกลุ่มงานวิจัยไซราเรีย More information boonchuai.cha@ncr.nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71465

  • 2530-2537

    ยุคแรก (ช่วงที่สอง) 2530-2537 การศึกษาราจากธรรมชาติในป่าไม้ของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลา 10-12 ปีที่ผ่านมา ในช่วงเวลาดังกล่าวผู้เชี่ยวชาญด้านความหลากหลายทางชีวภาพของราทำลายแมลงในประเทศไทย ได้เริ่มต้นงานวิจัยตั้งแต่ปี 2532 ณ ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ หรือ the National Biological Control Research Center ขณะนั้นมี ดร.บรรพจ ณ ป้อมเพชร สังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ ในช่วงเวลาดังกล่าวข้อมูลทั้งหมดใช้รูปแบบการจัดเก็บฐานข้อมูลด้วย Borland's Paradox นอกจากกลุ่มงานวิจัยความหลากหลายของราก่อให้เกิดโรคในแมลงแล้ว งานวิจัยด้านความหลากหลายของเห็ดราขนาดใหญ่ก็ได้เริ่มต้นในช่วงระยะเวลาเดียวกัน โดยมีผู้เชี่ยวชาญนำคณะโดย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ โรเบริต์ เจ เบนโดนี และศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ทิมโมที วิลเลี่ยม ฟลีเจล ซึ่งขณะนั้นทำงานเป็นอาจารย์ประจำ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ดำเนินงานร่วมกับ ศาสตราจารย์ มรกต ตันติเจริญ ผอ. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ หรือ National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (BIOTEC) จึงได้เริ่มเปิดการศึกษาวิจัยอนุกรมวิธานและจัดระบบการจัดการตัวอย่าง ตั้งแต่ปี 2529 ณ BIOTEC 1/1 < Previous Work Next Work >

  • นางสาวทักษพร ธรรมรักษ์เจริญ

    นางสาวทักษพร ธรรมรักษ์เจริญ ผู้ช่วยวิจัยกลุ่มงานวิจัยเห็ด และ ผู้จัดการพิพิธภัณฑ์เห็ดรา More information tuksaporn.thu@nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71454

  • Cookeina garethjonesii Ekanayaka, Q. Zhao & K.D. Hyde 2016

    Cookeina garethjonesii Ekanayaka, Q. Zhao & K.D. Hyde 2016 Specimen ID Collected date RSPG1893 23 ธันวาคม 2562 05:00:00 Collected by Thitiya Boonpratuang, Rattaket Choeyklin, Maneerat Pobkwamsuk, Sakoakan Anaphon, Thanikan Niamtaeng and Komsit Wisitrassameewong. Identified by Thitiya Boonpratuang, Maneerat Pobkwamsuk, Tuksaporn Thamaracharoen Collected Site Satun Province, Satun Geopark Community Forest. Habit, habitat, substrate Specimen was growing on hard wood (Lignicolous habitat) and growing on group or caespitose habit. Herbarium number RSPG01893 was collected on 23 Dec. 2019. Collecting site at Satun Province, Satun Geopark Community Forest. Collected by Thitiya Boonpratuang, Rattaket Choeyklin, Maneerat Pobkwamsuk, Sakoakan Anaphon, Thanikan Niamtaeng and Komsit Wisitrassameewong. Macroscopic Description Ascocarps disc shape, top ascocarps is inside disc shape while the under ascocarp is out side disc, mostly circular to ovoid shapes from top view, smooth surface except margin with pubescent (short hair), pink (red rose) (oac616) color, white hair at margin, dry surface, incurved margin, wrinkle or striate underneath near margin or striate radius near margin around ascocarp. Smooth hymenophore or underneath, cream color of hymenophore. Stipe 2.5–3.5 mm height x 1-1.5 mm width, central, cream (oac919) color, sometime connate base (fuse at base) mostly grow in solitary stipe, smooth, enlarge at base sometime but mostly cylindrical. Microscopic Description Ascospores Ovoid, elliptical to subglobose, thick walled, ornamentation with aculeate, Ascus cylindrical, long, smooth, thick-walled, Paraphyses cylindrical, sometime forked, septate, thick-walled, smooth, branched and slightly swollen and ventricose (long cell) at terminal. Ascocarps hymenial layers top layer present with long hair, thick walled, septate, pyriform to globose, broad, and smooth. Margin hairs present, long, thick, perpendicular, trichoderm, septate, pyriform to globose, smooth, under layer trama parallel, cylindrical, septate, thick walled, Stipilipellis present with long hair, thick walled, septate, pyriform to globose, broad, smooth. Stipe trama parallel, cylindrical, septate, thick walled. Chemical reaction hyaline in water, colorless in 3% KOH and inamyloid in Melzer’s reagent. Clamp connection absents. Cookeina garethjonesii Ekanayaka, Q. Zhao & K.D. Hyde 2016 Cookeina garethjonesii Ekanayaka, Q. Zhao & K.D. Hyde 2016 Cookeina garethjonesii Ekanayaka, Q. Zhao & K.D. Hyde 2016 Cookeina garethjonesii Ekanayaka, Q. Zhao & K.D. Hyde 2016 1/1

  • นางสาวสิตา ปรีดานนท์

    นางสาวสิตา ปรีดานนท์ ผู้ช่วยวิจัยอาวุโสกลุ่มงานวิจัยราทะเล More information sita.pre@nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71465

  • ความหลากหลายจุลินทรีย์ในสภาพแวดล้อมพิเศษ: กรณีศึกษาในถ้ำของอุทยานธรณีสตูล ซึ่งเป็นสมาชิกของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Global Geoparks)นักวิจัยจาก NBT ร่วมเดินทางกับอุทยานธรณีสตูล มหาวิทยาลัยมหิดลและกรมทรัพยากรธรณี ดำเนินการสํารวจ เก็บตัวอย่างและจัดจําแนกชนิดของจุลินทรียที่พบภายในถ้ำในอุทยานธรณีสตูล จํานวน 2 ถํ้า ได้แก่ ถ้ำเลเสตโกดอน ที่มุ่งเน้นศึกษาความหลากหลายของรา และถ้ำภูผาเพชรมุ่งเน้นศึกษาความหลากหลายของราและแบคทีเรีย โดยทำการเลือกสุ่มเก็บตัวอย่าง เช่น หิน อากาศ น้ำ ดินหรือตะกอน หรือ อินทรียวัตถุ จากนั้นจัดจำแนกชนิดของจุลินทรีย์ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา ชีวโมเลกุล และอนุกรมวิธานเชิงเคมี พร้อมทั้งวิเคราะห์ลักษณะ ชนิดและ ประเภทของหินจากถ้ำเลเสตโกดอนและถ้ำภูผาเพชรจังหวัดสตูล

    ความหลากหลายจุลินทรีย์ในสภาพแวดล้อมพิเศษ: กรณีศึกษาในถ้ำของอุทยานธรณีสตูล ซึ่งเป็นสมาชิกของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Global Geoparks) 2020-2021 จำนวนความหลากชนิดที่พบ 200 ชนิด 200 บทคัดย่อ นักวิจัยจาก NBT ร่วมเดินทางกับอุทยานธรณีสตูล มหาวิทยาลัยมหิดลและกรมทรัพยากรธรณี ดำเนินการสํารวจ เก็บตัวอย่างและจัดจําแนกชนิดของจุลินทรียที่พบภายในถ้ำในอุทยานธรณีสตูล จํานวน 2 ถํ้า ได้แก่ ถ้ำเลเสตโกดอน ที่มุ่งเน้นศึกษาความหลากหลายของรา และถ้ำภูผาเพชรมุ่งเน้นศึกษาความหลากหลายของราและแบคทีเรีย โดยทำการเลือกสุ่มเก็บตัวอย่าง เช่น หิน อากาศ น้ำ ดินหรือตะกอน หรือ อินทรียวัตถุ จากนั้นจัดจำแนกชนิดของจุลินทรีย์ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา ชีวโมเลกุล และอนุกรมวิธานเชิงเคมี พร้อมทั้งวิเคราะห์ลักษณะ ชนิดและ ประเภทของหินจากถ้ำเลเสตโกดอนและถ้ำภูผาเพชร บทสรุปโครงการ นักวิจัยจาก NBT ร่วมเดินทางกับอุทยานธรณีสตูล มหาวิทยาลัยมหิดลและกรมทรัพยากรธรณี ดำเนินการสํารวจ เก็บตัวอย่างและจัดจําแนกชนิดของจุลินทรียที่พบภายในถ้ำในอุทยานธรณีสตูล จํานวน 2 ถํ้า ได้แก่ ถ้ำเลเสตโกดอน ที่มุ่งเน้นศึกษาความหลากหลายของรา และถ้ำภูผาเพชรมุ่งเน้นศึกษาความหลากหลายของราและแบคทีเรีย โดยทำการเลือกสุ่มเก็บตัวอย่าง เช่น หิน อากาศ น้ำ ดินหรือตะกอน หรือ อินทรียวัตถุ จากนั้นจัดจำแนกชนิดของจุลินทรีย์ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา ชีวโมเลกุล และอนุกรมวิธานเชิงเคมี พร้อมทั้งวิเคราะห์ลักษณะ ชนิดและ ประเภทของหินจากถ้ำเลเสตโกดอนและถ้ำภูผาเพชร รายการโครงการที่่น่าสนใจ จำนวนตัวอย่างที่พบ 2000 จำนวนความหลากชนิด 200 พื้นที่วิจัย จังหวัดสตูล 1/1 การเผยแพร่องค์ความรู้ ยังไม่มี Read More

  • servicesผู้จัดการ และ หรือ ผู้ช่วยผู้จัดการพิจารณาตัวอย่างเพื่อรับฝากมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้

    การให้บริการ เวลาทำการของ Fungarium: 9.00-17.00 น. ช่วงเวลารับคำร้อง: วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 9.00-12.00 น. หมายเหตุ ในกรณีที่คำร้องจากลูกค้าเข้ามาหลัง 12.00 น. จะดำเนินการในวันถัดไป Search ค้นหาตัวอย่าง ดาวโหลด PDF คุณภาพของ ตัวอย่างแห้งเห็ดรา ขึ้นกับวิธีการเก็บตัวอย่างตั้งแต่แรกเริ่มในภาคสนาม จนมาถึงการจัดทำตัวอย่างแห้ง และนำเก็บเข้าคลัง หากเลือกตัวอย่างไม่เหมาะสมตั้งแต่ต้นจะส่งผลให้คุณภาพของตัวอย่างไม่ดีตั้งแต่ ณ เวลาทำแห้งตัวอย่างในภาคสนาม แต่ถ้าเลือกตัวอย่างที่มีคุณภาพแล้ว แต่วิธีการทำแห้งตัวอย่างไม่เหมาะสม จะส่งผลถึงคุณภาพของตัวอย่างแห้งได้ เช่น การเสื่อมของเซลไม่สามารถนำมาตรวจสอบได้ภายหลัง การเสื่อมของ DNA ไม่สามารถนำมาสกัดได้ เป็นต้น คุณภาพของ ตัวอย่างแห้งเห็ดรา ตัวอย่างที่พิพิธภัณฑ์รับฝากตัวอย่างอ้างอิงเท่านั้น ประเภทตัวอย่างที่ฝากเก็บ คือ ตัวอย่างแห้งเห็ดรา ไมโครไสลด์ที่ผนึกแบบถาวร Genomic DNA ที่เก็บในรูปแบของ Speed Vacuum Dry ที่เหมาะกับการเก็บในห้อง 18 องศา เท่านั้น ส่วนการเก็บ Genomic DNA ที่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน เก็บรักษาที่อุณหภูมิ -80C ซึ่งจะจัดอยู่ในส่วนของบริการของ Gene Bank คุณภาพของ ตัวอย่างแห้งเห็ดรา มีข้อสงสัย ต้องการซักถาม หรือ ขอคำปรึกษา ติดต่อได้ 2 ทาง bbh.fungarium@nstda.or.th ​ ​ 66 2 564 7000 ต่อ 71454 เงื่อนไขการพิจารณาตัวอย่างเพื่อการรับฝาก References I-NS-NBT-01 อ่านเพิ่มเติม การเก็บรักษาตัวอย่างแห้งขนาดใหญ่ References I-NS-NBT-01 อ่านเพิ่มเติม การเก็บรักษาตัวอย่างของเชื้อราในกลุ่มที่สร้างโครงสร้างขนาดเล็ก References I-NS-NBT-01 อ่านเพิ่มเติม Genomic DNA References I-NS-NBT-01 อ่านเพิ่มเติม

  • นางธิติยา บุญประเทือง

    นางธิติยา บุญประเทือง Bio-banking Manager, หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยเห็ด และ หัวหน้ากลุ่มงานพิพิธภัณฑ์เห็ดรา More information thitiya.boo@nstda.or.th 662 564 7000 ต่อ 71471

bottom of page